การจัดทำรายงานการพัฒนาความยั่งยืน ตามมาตรฐาน GRI
ในหลักเกณฑ์การประเมินกระบวนการปฏิบัติงานและการจัดการ (Core Business Enablers) ของรัฐวิสาหกิจ ตามระบบประเมินผลใหม่ (SE-AM) ด้านการกำกับดูแลที่ดีและการนำองค์กร (CG & Leadership) หัวข้อ 9.ความยั่งยืนและนวัตกรรม
กำหนดให้เรื่องรายงานการพัฒนาความยั่งยืน ต้องมีการดำเนินการจัดทำในทุกรัฐวิสาหกิจ โดยให้สามารถเปิดเผยได้ตามศักยภาพและความพร้อมด้านข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ที่รัฐวิสาหกิจสามารถจัดเก็บในแต่ละช่วงเวลา
ทั้งนี้ กรอบการรายงานการพัฒนาความยั่งยืน ควรเป็นไปมาตรฐานสากล เช่น Global Reporting Initiative (GRI)
สถาบันไทยพัฒน์ ในฐานะ GRI Certified Training Partner ในประเทศไทย มีบริการให้คำปรึกษาต่อการจัดทำรายงานการพัฒนาความยั่งยืน ตามมาตรฐาน GRI โดยให้ความสำคัญที่การวิเคราะห์สารัตถภาพ (Materiality Analysis) ประกอบด้วย
รัฐวิสาหกิจที่สนใจในบริการด้านรายงานการพัฒนาความยั่งยืน ตามมาตรฐาน GRI สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ คุณฌานสิทธิ์ ยอดพฤติการณ์ อีเมล info@thaipat.org
กำหนดให้เรื่องรายงานการพัฒนาความยั่งยืน ต้องมีการดำเนินการจัดทำในทุกรัฐวิสาหกิจ โดยให้สามารถเปิดเผยได้ตามศักยภาพและความพร้อมด้านข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ที่รัฐวิสาหกิจสามารถจัดเก็บในแต่ละช่วงเวลา
ทั้งนี้ กรอบการรายงานการพัฒนาความยั่งยืน ควรเป็นไปมาตรฐานสากล เช่น Global Reporting Initiative (GRI)
สถาบันไทยพัฒน์ ในฐานะ GRI Certified Training Partner ในประเทศไทย มีบริการให้คำปรึกษาต่อการจัดทำรายงานการพัฒนาความยั่งยืน ตามมาตรฐาน GRI โดยให้ความสำคัญที่การวิเคราะห์สารัตถภาพ (Materiality Analysis) ประกอบด้วย
1. | การประเมินบริบทองค์กร |
2. | การระบุผลกระทบที่เกิดขึ้นและที่คาดว่าจะเกิดขึ้น |
3. | การประเมินนัยสำคัญของผลกระทบที่ถูกระบุ |
4. | การจัดลำดับความสำคัญเพื่อให้ได้มาซึ่งชุดผลกระทบที่มีนัยสำคัญที่สุดสำหรับการรายงาน |
รัฐวิสาหกิจที่สนใจในบริการด้านรายงานการพัฒนาความยั่งยืน ตามมาตรฐาน GRI สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ คุณฌานสิทธิ์ ยอดพฤติการณ์ อีเมล info@thaipat.org