การเชื่อมโยงปัจจัยความยั่งยืน โดยอ้างอิง SDGs
Rational | Scope | CSR | Sustainability | SDGs |
ในหลักเกณฑ์การประเมินกระบวนการปฏิบัติงานและการจัดการ (Core Business Enablers) ของรัฐวิสาหกิจ ตามระบบประเมินผลใหม่ (SE-AM) ด้านการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Planning : SP) หัวข้อ 1.การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
ระบุให้ ในกระบวนการรวมรวมและวิเคราะห์ปัจจัยนำเข้าในการวางแผนยุทธศาสตร์ รัฐวิสาหกิจต้องมีกระบวนการในการกำหนดปัจจัยความยั่งยืน โดยอาจใช้การสำรวจหรือการอ้างอิงจาก SDGs Index หรือรายงานความยั่งยืนขององค์กร เพื่อค้นหาว่าปัจจัยใด คือปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความยั่งยืนขององค์กรที่แท้จริง
ตัวอย่างของปัจจัยความยั่งยืนขององค์กรอื่น เช่น การดำเนินงานด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ภาวะผู้นำที่สอดรับการการเปลี่ยนแปลง เป็นต้น
สถาบันไทยพัฒน์ ในฐานะองค์กรสมาชิกของเครือข่ายการแก้ปัญหาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ Sustainable Development Solutions Network (SDSN) ภายใต้การดำเนินการของเลขาธิการสหประชาชาติ ได้พัฒนารูปแบบความเชื่อมโยง (Mapping) ระหว่างการจัดทำแผนการดำเนินงาน CSR in Process ตามมาตรฐาน ISO 26000 ไปยังรายการเปิดเผยข้อมูลในรายงานการพัฒนาความยั่งยืน ตามมาตรฐาน GRI Standards ที่สัมพันธ์กับปัจจัยความยั่งยืน ตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ในระดับที่เป็น Target-level SDGs
ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนแผน CSR in Process และการพัฒนาความยั่งยืนที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และสามารถตอบโจทย์เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ควบคู่ไปพร้อมกัน
รัฐวิสาหกิจที่สนใจบริการเชื่อมโยงปัจจัยความยั่งยืน โดยอ้างอิง SDGs สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ คุณฌานสิทธิ์ ยอดพฤติการณ์ อีเมล info@thaipat.org
ระบุให้ ในกระบวนการรวมรวมและวิเคราะห์ปัจจัยนำเข้าในการวางแผนยุทธศาสตร์ รัฐวิสาหกิจต้องมีกระบวนการในการกำหนดปัจจัยความยั่งยืน โดยอาจใช้การสำรวจหรือการอ้างอิงจาก SDGs Index หรือรายงานความยั่งยืนขององค์กร เพื่อค้นหาว่าปัจจัยใด คือปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความยั่งยืนขององค์กรที่แท้จริง
ตัวอย่างของปัจจัยความยั่งยืนขององค์กรอื่น เช่น การดำเนินงานด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ภาวะผู้นำที่สอดรับการการเปลี่ยนแปลง เป็นต้น
สถาบันไทยพัฒน์ ในฐานะองค์กรสมาชิกของเครือข่ายการแก้ปัญหาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ Sustainable Development Solutions Network (SDSN) ภายใต้การดำเนินการของเลขาธิการสหประชาชาติ ได้พัฒนารูปแบบความเชื่อมโยง (Mapping) ระหว่างการจัดทำแผนการดำเนินงาน CSR in Process ตามมาตรฐาน ISO 26000 ไปยังรายการเปิดเผยข้อมูลในรายงานการพัฒนาความยั่งยืน ตามมาตรฐาน GRI Standards ที่สัมพันธ์กับปัจจัยความยั่งยืน ตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ในระดับที่เป็น Target-level SDGs
ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนแผน CSR in Process และการพัฒนาความยั่งยืนที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และสามารถตอบโจทย์เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ควบคู่ไปพร้อมกัน
รัฐวิสาหกิจที่สนใจบริการเชื่อมโยงปัจจัยความยั่งยืน โดยอ้างอิง SDGs สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ คุณฌานสิทธิ์ ยอดพฤติการณ์ อีเมล info@thaipat.org